รศ.ดร.ศิริวรรณ องคไชย (แย้มนิยม)
ReadyPlanet.com
dot dot
dot
dot
bulletนักวิทยาศาสตร์ BIM100
bulletวัฒนชีวา MyLife100
bulletศูนย์วิจัย และพัฒนามังคุดไทย
bulletประโยชน์ของน้ำมังคุด
bulletความร่วมมือของนักวิจัย BIM100
bulletการเพิ่มคุณภาพชีวิตของ "ผู้ป่วยมะเร็ง"
bulletสัมภาษณ์ผู้ทาน BIM100
bulletบทสัมภาษณ์นักวิจัย รศ. ดร. ภญ. อำไพ ปั้นทอง
bulletพลังแห่งภูมิสมดุล
bulletภูมิคุ้มกันบกพร่อง (Aids)
bulletผลของ Bim100 ต่อ มะเร็ง
bulletเบาหวาน
bulletข้อเข่าเสื่อม/ปวดเข่า
bulletกรดไหลย้อน
bulletโรคกระเพาะอาหาร
bulletวุ้นตาเสื่อม
bulletโรคสะเก็ดเงิน/เรื้อนกวาง
bulletSLE / แพ้ภูมิตัวเอง
bulletผื่นแพ้คันที่ผิวหนัง
bulletซีส เนื้องอก
bulletริดสีดวงทวาร
bulletไมเกรน / ปวดหัว
bulletภูมิแพ้
bulletหอบหืด / ไซนัส
bulletรูมาตอยด์
bulletเก๊าท์
bulletไฮเปอร์ไทรอยด์ (เป็นพิษ)
bulletไฮโปไทรอยด์
bulletน้ำในหูไม่เท่ากัน / บ้านหมุน
bulletปัญหาอื่น ๆ
dot
dot



 

ชื่อ

ดร. ศิริวรรณ องค์ไชย (แย้มนิยม)

ตำแหน่งปัจจุบัน

รองศาสตราจารย์

สถานที่ติดต่อ

ภาควิชาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50200 

ประวัติการศึกษา

  • ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ชีวเคมี) 2542 มหาวิทยาลัยแมนเชสเตอร์ ประเทศอังกฤษ
  • วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ชีวเคมี) 2530 คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประเทศไทย
  • วิทยาศาสตรบัณฑิต (เคมี) 2525 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ประเทศไทย

สาขาที่เชี่ยวชาญ

  1. การตรวจสอบฤทธิ์สารจากธรรมชาติและพืชสมุนไพรต้านโรคข้อเสื่อม
  2. ชีวเคมีของโรคข้อกระดูกเสื่อม
  3. Biochemistry of extracellular matrix
  4. Thalassemia and abnormal hemoglobins

รางวัลที่เคยได้รับ

พ.ศ. 2538-2542
ทุน กพ.เพื่อศึกษาต่อปริญญาเอกประเทศอังกฤษ

พ.ศ. 2539-2540
ทุนสมทบการศึกษาปริญญาเอก จากคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

พ.ศ. 2544
เกียรติบัตรรางวัลประเภทดี ในการประกวดผลงานทางวิชาการ วันมหิดล ครั้งที่ 25 ประเภทงานวิจัยพื้นฐาน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เรื่อง “การฉีด Hydrocortisone succinate เข้าข้อเข่าสามารถเหนี่ยวนำ ให้เกิดการเสื่อมทำลาย กระดูกอ่อนผิวข้อของกระต่าย”

พ.ศ. 2544
เกียรติบัตรรางวัลประเภทดี ในการประกวดผลงานทางวิชาการ วันมหิดล ครั้งที่ 25 ประเภทงานวิจัยประยุกต์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เรื่อง “ชุดน้ำยาสำเร็จรูปต้นแบบ สำหรับการตรวจวัดระดับ ไฮยาลูโรแนน เพื่อการวินิจฉัยโรค ”

พ.ศ. 2545
เกียรติบัตรรางวัลประเภทดี ในการประกวดผลงานทางวิชาการ วันมหิดล ครั้งที่ 26 ประเภทงานวิจัยพื้นฐาน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เรื่อง “การเปลี่ยนแปลงระดับไฮยาลูโรแนน และคอนดรอยตินซัลเฟตอิพิโทปในซีรั่มของม้า
ที่ช่วงอายุต่าง ๆ และม้าที่เป็นโรคข้อเสื่อม”

พ.ศ. 2548
รางวัลโปสเตอร์ประเภทดี ในการประกวดผลงานทางวิชาการ วันมหิดลครั้งที่ 29 ประจำปี2550 ประเภทการวิจัยพื้นฐาน คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เรื่อง “Zingiber Cassumunar RoxB. Extract inhibits gelatinase activity in oral epithelial cells”

พ.ศ. 2549
เกียรติบัตรผู้ปฏิบัติหน้าที่ กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ได้อย่างมีคุณภาพดียิ่ง
ทำให้วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต สาขาชีวเคมี คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ของนางสาวพีรพรรณ โปธาเจริญ ได้รับการพิจารณาให้เป็น วิทยานิพนธ์ดีมาก
ประจำปีการศึกษา 2549
 

ผลงานทางวิชาการ

  1. Chiyasut C, Tsuda T, Khansuwan U and Ong-chai S. Red blood cell lysis at the single cell level by using a mini electrophoresis apparatus. Chromatography 2002;23(1):33-38.
  2. Ong-chai S, Pothacharoen P, Yingsung W, Sugahara K, Hardingham TE and Kongtawelert P. Changes in serum chondroitin sulfate epitopes in rabbit model of osteoarthritis induced by intra-articular hydrocortisone injection. Osteoarthritis Cartilage 2002; 10 (suppl. A):51-3.
  3. Kongtawelert P, Tangkijvanich P, Ong-chai S, Poovorawan Y. Role of serum total sialic acid in differentiating cholangiocarcinoma from hepatocellular carcinoma. World J Gastroenterol. 2003 Oct;9(10):2178-81.
  4. Chattipakorn SC, Ong-chai S, Kongtawerlert P and Chattipakorn N. (2004) Hyaluronan Profiles in human saliva among differenct inflammatory levels of periodontal condition. J Dent Assoc Thai. 53(3): 170-175
  5. Nganvongpanit K and Ong-chai S. (2004) Biological Marker for Canine Oseoarthritis Diagnosis. CMU Vet J. 2:39-49.
  6. กรกฏ งานวงศ์พานิชย์ ศิริวรรณ องค์ไชย (2547) การใช้สารพอลิซัลเฟตกลัย โคซามิโนกลัยแคนในการรักษา โรคข้อเสื่อม วารสารสัตวแพทย์ ผู้ประกอบการบำบัดโรคสัตว์ 16(4):25-33
  7. Nganvongpanit K and Ong-chai S. (2004) Serum chondroitin sulfate of healthy dogs related to gender and weight. J Thai Vet Pract. 16(4): 37-49
  8. Ong-chai S, Itthiarbha A, Chaiwongsa R, Molk F, Fernandes P, and Kongtawelert P (2004) Diacereine reduces porcine articular cartilage degradation in explant cultures. Abstract book of the 11th Asia Pacific League of Associations for Rheumatology Congress. Jeju, Korea. page 111.
  9. Kantamoon C, Ong-chai S and Sanguansermsri T (2005) Molecular Characterization of 0-Thalassemia in Patients with Hemoglobin H (Hb H) disease and in Hb Bart’s Hydropic Fetus. Royal Thai Army Med J. 58(4):1-6
  10. Nganvongpanit K, Suwankong N, Jitpean S and Ong-chai S. (2005) The changes of serum chondroitin sulfate in the induced osteoarthritic dogs after chitisan polysufate administration. J Thai Vet Pract. 17(3): 27-39
  11. Ong-chai S, Chaiwongsa R, Kongtawelert P and Reutrakul V (2005) The extract of Plai (Zingiber cassumunar Roxb.) inhibits cartilage degradation in explant culture model. Abstract book of the 1st International Conference on National Products for Health and Beauty. 17th-21st October 2005. Maha Sarakham, Thailand.
  12. Pothacharoen P, Teekachunhatean S, Louthrenoo W, Yingsung W, Ong-Chai S, Hardingham T, Kongtawelert P. (2006) Raised chondroitin sulfate epitopes and hyaluronan in serum from rheumatoid arthritis and osteoarthritis patients. Osteoarthritis Cartilage. 14(3):299-301.
  13. กรกฎ งานวงศ์พาณิชย์ อัคนิตย์ อิทธิอาภา ปรัชญา คงทวีเลิศ และ ศิริวรรณ องค์ไชย. 2548. การศึกษาเปรียบเทียบระดับ คอนดรอยตินซัลเฟตชนิด WF6 และ 3B3 ในซีรั่มสุนัขที่พบ และไม่พบรอยโรคข้อสะโพกเจริญผิดปกติ สัตวแพทยสาร 56(3):1-12
  14. Pothacharoen P, Siriaunkgul S, Ong-chai S, Supabandhu J, Kumja P, Wanaphirak C, Sugahara K, Hardingham TE, Kongtawelert P (2006) Raised Serum Chondroitin Sulfate Epitope Level in Ovarian Epithelial Cancer. J. Biochem. 140, 517–524.
  15. Hartwell SK , Somprayoon D, Kongtawelert P, Ongchai S, Arppornchayanon O, Ganranoo L, Lapanantnoppakhun S, Grudpan K. (2007) Online assay of bone specific alkaline phosphatase with a flow injection-bead injection system. Analytica Chimica Acta 6 0 0 ( 2 0 0 7 ) 188–193
  16. Ukarapol N, Wongsawasdi L, Ong-chai S , Riddhiputra P, Kongtawelert P (2007) Hyaluronic acid: Additional biochemical marker in the diagnosis of biliary atresia. Pediatrics Int. 2007; 49:608-11.


หน้า 1/1
1
[Go to top]



Copyright © 2014 All Rights Reserved.



ติดต่อสอบถาม/ปรึกษาปัญหาสุขภาพ
โทร. 088-919-1559 Line id : @bim555 (ใส่ @ ข้างหน้าด้วยค่ะ)